โอกาสของคนตัวเล็ก
นับเป็นสัญญาณที่ดีกับสถานการณ์ที่ภาครัฐประกาศผ่อนคลายล็อคดาวน์ทำให้ประชาชนได้มีโอกาสทำกิจกรรมต่างๆ ตามที่ปรารถนา ซึ่งก็ส่งผลต่อผู้ประกอบการร้านค้าที่จะได้มีโอกาสเปิดร้านและได้ขายสินค้าหลังจากที่ต้องปิดกิจการลงชั่วคราว ชี้ช่องรวย ได้นำผลวิจัยของอิปซอสส์ (I
ภายหลังจากสถานการณ์โควิด-19 เริ่มคลี่คลาย เมื่อรัฐบาลมีนโยบายผ่อนคลายมาตรการเพื่อไม่ให้เกิดการแพร่ระบาด และนับต่อไปจากนี้ เราจะได้เห็นพฤติกรรมของผู้คนที่เปลี่ยนไป เรียกว่า เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิงเลยก็ว่าได้ แล้วพฤติกรรมของคนที่เปลี่ยนไปจากนี้จะส่งผลอย่างไร
จากพิษภัยของโควิด-19 ทำให้วิถีชีวิตของผู้คนต้องเปลี่ยนแปลงไป ทั้งได้รับผลกระทบจากการถูกเลิกจ้าง ต้องกลายเป็นคนตกงาน ไม่ว่าตำแหน่งหน้าที่การงานจะสูงหรือเงินเดือนมากมายขนาดไหน สุดท้ายก็ต้องอยู่ในสถานะเดียวกัน แต่สิ่งที่แตกต่างกัน คือ ใครจะยอมรับและดิ้นรน
ชี้ช่องรวย ขอหยิบยกตัวอย่างผู้ประกอบการที่ถือว่าเป็นต้นแบบการปรับตัวของใครหลายคน โดยวันนี้เกี่ยวข้องกับธุรกิจโต๊ะจีนซึ่งได้รับผลกระทบอย่างมาก “คุณนุช” สุชาดา สัตยกุล เจ้าของธุรกิจเกรียงไกรโภชนาโต๊ะจีน จ.นครปฐม ก็เป็นหนึ่งในผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบเช่น
อีกหนึ่งบุคคลตัวอย่างที่ ชี้ช่องรวย ขอนำเสนอเพื่อเป็นตัวอย่างการสู้ชีวิตให้ผ่านพ้นวิกฤตในข่วงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 นั่นก็คือ คุณณภพ ลายวิเศษกุล กรรมการผู้จัดการ โรงแรมลายทอง จ.อุบลราชธานี ที่ไม่ยอมแพ้แม้ต้องปิดกิจการโรงแรม
อีกหนึ่งตัวอย่างของการพลิกชีวิตเปลี่ยน "วิกฤต" ให้เป็น "โอกาส" ที่ ชี้ช่องรวย อยากจะนำเสนอ เป็นเรื่องราวของหนุ่มสาวแกร็บคาร์ที่ได้เปลี่ยนรูปแบบการให้บริการจากรับส่งผู้โดยสาร มาเป็นรับส่งอาหารตามออเดอร์ของลูกค้า ถือเป็นการหารายได้ในยามที่ผู้คนงดออกจากบ้าน
เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2563 คณะรัฐมนตรี (ครม.) อนุมัติมาตรการดูแลและเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย
เมื่อเอ่ยถึงคำว่า “วินัย” หลายคนมักจะคิดถึงกฎระเบียบที่เคร่งครัดและพาลจะชวนให้อึดอัด โดยเฉพาะกับคนยุคใหม่ที่มีความคิดความอ่านเป็นของตัวเองค่อนข้างสูง ชอบความเป็นอิสระไม่ว่าจะเป็นทั้งด้านแนวคิดและการกระทำ
ดร.สุทธิพล ทวีชัยการ เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (เลขาธิการ คปภ.) เปิดเผยว่า การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 ซึ่งทาง คปภ. ได้กำหนดมาตรการเร่งด่วนรองรับสถานการณ์ดังกล่าว ในการดูแลช่วยเหลือประชาชน
คปภ. บูรณาการภาคอุตสาหกรรมประกันภัยไทย มอบกรมธรรม์ประกันภัย คุ้มครองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แก่บุคลากรทางการแพทย์ จำนวน 70,000 ฉบับ วงเงินความคุ้มครอง 3,500 ล้านบาท