โอกาสของคนตัวเล็ก
วิธีลงทะเบียนเข้าสู่ระบบประกันสังคม (ม.33) สำหรับนายจ้างนอกระบบที่มีลูกจ้าง (9 สาขากิจการ ใน 10 จังหวัด) เพื่อรับเงินเยียวยาจากรัฐ 1 เดือน
หลังจาก ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารเศรษฐกิจในช่วงสถานการณ์โควิด19 ( ศบศ) เคาะ! มาตรการเยียวยา โควิด19 ให้กับลูกจ้างในระบบ ประกันสังคม เฉพาะในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สีแดงเข้ม) 6 จังหวัด คือ กรุงเทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร
ครม.เห็นชอบปรับลดอัตราเงินสมทบ ประกันสังคมของ ผู้ประกันตน มาตรา 40 ซึ่งเป็นแรงงานนอกระบบ ผู้ประกอบอาชีพอิสระ เหลือร้อยละ 60 ของเงินสมทบ เป็นระยะเวลา 6 เดือน
เมื่อวานนี้ facebook “สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์” โพสข้อความ ประกันสังคม ผุดมาตรการ จ่ายเงินเยียวยา 50% ช่วยลูกจ้าง-นายจ้าง กระทบโควิด
สำนักงานประกันสังคม ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่ เพิ่มช่องทางรับชำระเงินสมทบผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ผ่านบนมือถือระบบ Application AirPay แจง ขณะนี้เริ่มใช้ระบบแล้ว ย้ำ ยึดประโยชน์ผู้ประกันตนเป็นสำคัญ
ตามที่เรารู้ๆ กันดีว่า เงินที่พนักงานเอกชน หรือมนุษย์เงินเดือน ที่ทำประกันสังคมตามมาตรา 33 จะถูกหักเงินเข้าไปสมทบประกันสังคม โดยจะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มหลัก ๆ ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาล ประกันว่างงาน และสุดท้ายคือ เงินชราภาพ ที่เราจะได้รับเมื่อยามเกษียณ ซึ่งมาจาก
ข่าวดีของคนทำงาน เมื่อ ครม.อนุมัติเงินชดเชยรายได้ แก่ลูกจ้างของสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งยังไม่ได้รับการช่วยเหลือเยียวยาฯ ของกระทรวงแรงงาน โดยกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับความช่วยเหลือ คือ ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ของกองทุนประก
ภายหลังจากที่ภาครัฐประกาศให้ผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 60-65 ปี สามารถสมัครเข้าเป็นผู้ประกันตนประกันสังคมมาตรา 40 ได้ พร้อมให้สิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่พึงได้รับ ทำให้หลายคนสงสัยเกี่ยวกับรายละเอียดของประกันสังคม มาตรา 40 ว่ามีสาระเป็นอย่างไร ทำปล้วจะได้ประโยช
นายทศพล กฤตวงศ์วิมาน เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน ระบุว่า สำนักงานประกันสังคมเปิดให้แรงงานอิสระ หรือผู้ประกอบอาชีพอิสระที่มีอายุเกิน 60-65 ปีบริบูรณ์ สมัครขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ได้แล้ว มีผลตั้งแต่วันที่ 24 มิ.ย. 63 เป็นต้นไป