1.2018 ยุคทองของผู้ประกอบการรายเล็กในการสร้างแบรนด์—ปฏิเสธไม่ได้
ว่าในยุคที่ดิจิทัลเข้ามามี
บทบาท โอกาสของผู้ประกอบการรายเล็
กในการสร้างแบรนด์ในยุคนี้ จึงถือว่าเป็นยุคทองอย่างแท้จริ
ง ก่อนหน้านี้ผู้ประกอบการรายเล็
กแทบไม่มีเวทีในการแจ้งเกิด เพราะการจะสร้าง แบรนด์ หรือสื่
อสารแบรนด์ให้เป็นที่รู้จักในยุ
คที่ผ่านมา ปฏิเสธไม่ได้ว่าต้องใช้เงิ
นในการซื้อพื้นที่สื่อ และมีทางเลือกน้อย เป็นเพราะสื่อรูปแบบเดิมที่เรี
ยกได้ว่าเป็น Traditional Media ที่ได้รับความนิยมและเข้าถึงกลุ่
มเป้าหมายได้ดีมีราคาที่ไม่
สอดคล้องกั
บกรอบงบประมาณของเอสเอ็มอี ดังนั้นในปี 2018 ผู้ประกอบการรายใดที่มีกลุ่มเป้
าหมายชัดเจน มีเอกลักษณ์ของแบรนด์ที่โดดเด่นและรู้จักใช้สื่อดิจิทัลมาเป็
นช่องทางในการสื่อสารแบรนด์
แบบให้โดน รับรองแจ้งเกิดกันได้อย่างแน่
นอน
2.สื่อดิจิทัลยังคงเป็นสื่อที่ทรงอิทธิพลสูงสุด—เว็บไซต์เกี่
ยวกับแบรนด์ชื่อดังของเมืองไทย Brand Buffet ได้อ้างถึงรายงานของ We Are Social บริษัทเอเจนซี่วิจัยด้านโซเชี
ยลมีเดียชื่อดัง ที่ได้อัพเดทความเคลื่
อนไหวในโลกดิจิตอล (Digital Movement) ในแต่ละปี ซึ่งในปี 2017
มีประเด็นที่น่าสนใจคือประเทศที่ใช้งาน Facebook มากที่สุดยังเป็น
อเมริกา อยู่ที่ 214 ล้านคน ส่วน
เมืองที่ใช้งาน Facebook มากที่สุดคือ
กรุงเทพ ที่ 24 ล้านคน สำหรับในประเทศไทยเทรนด์ของเม็
ดเงินโฆษณาไหลมาที่สื่อดิจิทัล ทำให้สื่ออื่นๆ จากเดิมที่เคยมีรายได้
จากโฆษณาต่างมีรายได้ลดลงอย่
างน่าใจหาย นั่นหมายความว่า เจ้าของแบรนด์ต้องตระหนักถึ
งความสำคัญในการใช้เงินกับสื่
อโฆษณาผ่านสื่อดิจิทัล เพราะมีความทรงพลัง ประหยัดงบประมาณ และสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้
าหมายได้อย่างเฉพาะเจาะจง เจ้าของแบรนด์จึงควรรู้จักลั
กษณะของสื่อออนไลน์ และสื่อโซเชียลมีเดียแต่
ละประเภทที่มีคุณสมบัติแตกต่
างกันเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ
ดในการสร้างแบรนด์ ไม่ว่าจะเป็น Facebook / Line/ Youtube เป็นต้นรวมถึงเรียนรู้สื่อโซเชียลมีเดี
ยรูปแบบใหม่ๆ ที่กำลังจะเข้ามามีบทบาทในอนาคต
3.Functional Branding Vs Emotional Branding-- การซื้อสินค้าหรือบริการในยุคปั
จจุบัน ผู้บริโภคใช้ความรู้สึกหรือเป็
นเรื่องของอารมณ์มากกว่าเหตุผล สินค้าที่เล่นกับความรู้สึ
กของผู้บริโภคโดยเฉพาะสินค้าที่
มีราคาสูงหรือแบรนด์เนม จึงเป็นสินค้าที่ผู้บริโภคยอมจ่
ายเพื่อให้ได้ครอบครองมากกว่าที่
จะมองถึงประโยชน์ใช้สอยที่จะได้
รับ ดังนั้นหากเจ้าของแบรนด์เข้
าใจเรื่อง Emotional Branding เป็นอย่างดี การจะสื่อสารกับลูกค้าต่อจากนี้
ไปจึงจะเป็นการพูดคำว่า สินค้าใช้แล้วจะรู้สึกอย่างไรสร้างความภาคภูมิใจในการได้ใช้
สินค้า/ บริการได้อย่างไร มากกว่าที่จะบอกว่าคุณสมบัติ
ของสินค้าดีอย่างไร หรือใช้งานอย่างไรซึ่งเป็นเรื่
องของ Functional Brandingที่ทำให้ผู้ประกอบการไม่ต้
องเผชิญกับการแข่งขันราคาเพื่
อแย่งชิงส่วนครองตลาดหรือ Market Share อีกต่อไป การสร้าง
แบรนด์ในปี 2018 จึงต้องมีการผสานระหว่างความเป็
น Functional Branding Vs Emotional Branding ได้อย่างลงตัว
4.Story Telling Vs Story Doing—หลายๆ แบรนด์มักจะบอกกับผู้บริโภคว่
ามีเรื่องเล่าเกี่ยวกับแบรนด์ตั
วเองอย่างไร และตั้งใจจะทำอะไรเพื่อผู้บริ
โภคบ้างโดยถ่ายทอดผ่าน Tag Line หรือถ้อยคำโฆษณาที่มีความสวยหรู
และดูดี แต่ไม่นำไปสู่การปฏิบัติหรือสร้
างประสบการณ์ร่วม (Brand Experience)ให้กับผู้บริโภคได้
อย่างแท้จริง แบรนด์ในยุด 2018 จึงต้องทำในสิ่งที่พูด หรือต้องทำมากกว่าพูดจึงจะเป็
นแบรนด์ที่สามารถครอบใจผู้บริ
โภคได้อย่างแท้จริง
5.การสื่อสารแบรนด์ที่ต้องเน้นความเฉพาะเจาะจงมากขึ้น—ด้
วยเทรนด์ของพฤติกรรมผู้บริโภคที่
มีการเปลี่ยนแปลงไป เปลี่ยนเป็นสังคมเมือง ครอบครัวขยายน้อยลงเปลี่ยนเป็นครอบครัวเดี่ยว พฤติกรรมผู้บริโภคในการซื้อสิ
นค้าหรือบริการจึงมีการเปลี่
ยนแปลงตามไปด้วย การสื่อสารแบรนด์ในวงกว้างในสิ
นค้าประเภทเดียวกันที่หวังว่
าจะพูดกับลูกค้าทุกคนแบบเดียวกั
นคงใช้ไม่ได้อีกต่อไป การสื่อสารแบรนด์ในยุคปัจจุบั
นจึงต้องสื่อสารกับลูกค้าที่ใช่
จริงๆ และมีความแคบลงหรือเป็น Niche Marketมากขึ้น เพราะลูกค้าแต่ละกลุ่มจะมีพฤติ
กรรมและไลฟ์สไตล์ที่แตกต่างกัน หากเจ้าของแบรนด์ที่ยังไม่ปรั
บตัว ยังพูดเรื่องเดียวกันกับคนทุ
กกลุ่ม อาจต้องเตรียมตัวเผชิญกับความพ่
ายแพ้ ถ้าคู่แข่งที่อยู่บน Segment เดียวกันสามารถปรับตัวได้เร็
วกว่า
6.Digital Media Vs Traditional Media: ในยุคที่ดิจทัลทรงพลังมาก ทำให้เจ้าของแบรนด์สินค้าหลายๆ
แบรนด์ทุ่มเทและโฟกัสไปที่ดิจิ
ทัลหรือโซเชียลมีเดียเพียงอย่
างเดียว อาจละเลยสื่อดั้งเดิมที่
สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการสื่
อสารการตลาดได้เป็นอย่างดี อาทิ Personal Selling หรือการขายผ่านบุคคลที่ยั
งสามารถใช้ได้ดีกับสินค้าที่ต้
องการการอธิบายขยายความได้สูง หรือการโฆษณาผ่านหีบห่อที่
สามารถบอกกล่าวเรื่องราวของสิ
นค้าได้บนบรรจุภัณฑ์ได้ดีและเป็
นการผสมผสานระหว่างสื่อดั้งเดิ
มกับสื่อดิจิทัลได้ด้วย หมายความว่าหากหีบห่อสามารถมี QR Code บนบรรจุภัณฑ์ก็สามารถเชื่
อมโยงกับข้อมูลสินค้าบนเว็บไซต์
หรือหน้าเพจได้เช่นกัน เจ้าของแบรนด์จึงควรใช้ประโยชน์
จากสื่อทั้งสองประเภทให้ผสานกั
นอย่างลงตัวมากกว่าจะใช้เพียงรู
ปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ถึงแม้น้ำหนักในการใช้เงินจะค่
อนไปทางสื่อที่เป็นดิจิทัลหรื
อออนไลน์ก็ตาม
7.การหลอมรวมกันของเทคโนโลยี (convergence
)—มุมมองของ พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ รองประธาน กสทช. มองว่าเทคโนโลยี mobile, Internet, IoT, AI, Big data และ social network เทคโนโลยีเหล่านี้ ได้เกิดการหลอมรวม (convergence) กันอย่างแนบแน่น เพราะเกิดการเชื่อมโยงกันด้
วยเทคโนโลยี mobile broadband (4G/5G) ที่มีความเร็วสูงขึ้นอย่
างรวดเร็ว จนทำให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึ
งข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ แบบ real time จนส่งผลบริษัทมีความยุ่งยากซั
บซ้อนในการควบคุมภาพของแบรนด์
ได้ และจะยิ่งยุ่งยากซับซ้อนอย่างยิ่
งต่อๆ ไปในอนาคต จากมุมมองดังกล่าวเจ้าของ
แบรนด์จึงควรตระหนักถึงความสำคั
ญในการใช้เทคโนโลยีในการสร้
างแบรนด์เพื่อให้เกิดความโดดเด่
นและสร้างการจดจำ ทั้งนี้ยังมีเรื่องของ AR หรือ Augmented Reality ที่สามารถนำโลกเสมือนจริงให้
มาอยู่ในโลกของความเป็นจริงได้ จึงน่าจะเป็นอีกเทคโนโลยีหนึ่
งที่ช่วยในการสร้างแบรนด์ให้แข็
งแกร่งได้ในปี 2018 และในอนาคต
8.ความรับผิดชอบต่อสังคมจะช่วยให้แบรนด์เติบโตอย่างยั่งยืน-แบรนด์ใดๆ จะเติบโตได้อย่างยั่งยืนต้องรั
บผิดชอบต่อสังคมตั้งแต่วันแรกที่
เริ่มต้นดำเนินธุรกิจ ยุคนี้เป็นยุคของคนดีที่จะได้รั
บการตอบรับจากผู้คนในสังคม ยกตัวอย่างกรณีตูน บอดี้สแลม ออกมาวิ่งเพื่อหาเงินช่
วยโรงพยาบาลทั้ง 11 แห่งทั่วประเทศ ในแคมเปญ
“ก้าวคนละก้าว” หากวันนี้ถ้าคนที่ลุกขึ้นมานำวิ่
ง ไม่ใช่ตูน บอดี้สแลม กระแสตอบรับอาจไม่ดีเท่านี้ นั่นเป็นเพราะว่าต้นทุนทางสั
งคมหรือคุณงามความดีที่ตูนสร้
างไว้ จึงทำให้Event Brand ก้าวคนละก้าว ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี เพราะผู้คนที่มาร่วมบริจาคไม่มี
ข้อกังขาในตัวของ Brand Ambassador ดังนั้นแบรนด์ต่างๆ จึงจำเป็นต้องลุกขึ้นมารับผิ
ดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม ตั้งแต่วันนี้ เพื่อสร้างความเชื่อมั่น หรือ Trust ให้กับลูกค้าหรือผู้มารับบริการ จึงจะสามารถช่วยให้แบรนด์เติ
บโตอย่างยั่งยืน ได้อย่างแท้จริง
เมื่อเจ้าของแบรนด์ทราบถึงเทรนด์ที่จะเข้ามาช่วยในการสร้างแบรนด์ให้โดดเด่นขึ้นในปี 2018 แล้ว ก็หวังว่า แบรนด์สินค้าหรือบริการของแต่ละกิจการจะสามารถสร้างความโดดเด่น ครองใจผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี และเติบโตได้อย่างยั่งยืน เกิดความรักและภักดีในตราสินค้า เปลี่ยน Trade Mark เป็น Love Mark ได้อย่างที่ตั้งใจ
ขอบคุณ เจ้าของบทความ คุณดรุณวรรณ ชาญพิพัฒนชัย