เพื่อให้สามารถตอบโจทย์ความต้
องการของผู้บริโภคที่เปลี่
ยนแปลงไปตามนวัตกรรม
เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น
และวิถีชีวิต
ไลฟ์สไตล์ที่เปลี่ยนไป
ผู้สนใจสามารถติดตามรายละเอี
ยดเพิ่มเติมได้ในหนังสือบทสรุป
“เจาะเทรนด์โลก
2018 IN/TO the future” (INdividual and Together with the New State of Mind) โดยดาวน์โหลด
e-Book ได้
ฟรีที่
www.tcdc.or.th
หรือแอปพลิเคชัน
TCDC Digital Resource บนกูเกิลเพลย์
(Googleplay) และแอปสโตร์
(Appstore)
นายกิตติรัตน์
ปิติพานิช
รักษาการผู้อำนวยการศูนย์สร้
างสรรค์งานออกแบบ
(TCDC) กล่าวว่า
กระแสโลกที่
เปลี่ยนผันในทุกปีส่
งผลกระทบโดยตรงต่อแนวโน้มพฤติ
กรรมผู้บริโภค
อันนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางธุ
รกิจ
ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
ในฐานะศูนย์กลางแห่งการจุ
ดประกายความคิดสร้างสรรค์ให้สั
งคมไทย
จึงได้ทำการรวบรวมข้อมูลเทรนด์
ใหญ่ของโลก
กระแสโลก
ศึกษาวิจัย
และสรุปสู่การประยุกต์ใช้จริ
งทางธุรกิจและในชีวิตประจำวั
นเพื่อเผยแพร่ความรู้ที่เป็
นประโยชน์แก่สังคมไทย
โดยในปีนี้
ได้ทำการเจาะลึกถึง
9 อุ
ตสาหกรรมสร้างสรรค์ของโลกยุคปั
จจุบัน
ที่สามารถสร้างมูลค่าได้มหาศาล
และเป็นที่นิยมของกระแสโลก
ดังนี้
1. ศิลปะและหัตถกรรม
(Art & Craft) สินค้าหมวดหมู่งานฝีมื
อและหัตถกรรมของประเทศไทย
สร้างมูลค่าถึง
87,306ล้านบาท
ในปี
2557 เมื่อนำมาผนวกกับทิ
ศทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์
ของประเทศไทยในปัจจุบันแล้วนั้น
อุตสาหกรรมศิลปะและหั
ตถกรรมจะเป็นหนึ่งในอุ
ตสาหกรรมที่มีความโดดเด่น
โดยต้องเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่
มผ่านการใช้ประโยชน์จากจุดเด่
นของแต่ละภูมิภาค
ประสานกระบวนการผลิตแบบใหม่เข้
ากับทักษะฝีมือดั้งเดิมอย่างเข้
าใจ
ซึ่งสินค้าศิลปะและหัตถกรรมนี้
สามารถตอบโจทย์กระแสโลกที่หั
นมาให้ความนิยมกับสินค้าดี
ไอวายได้อย่างดีเยี่ยม
2. ความงามและแฟชั่น
(Beauty & Fashion) ประเทศไทยมีอุ
ตสาหกรรมความงามขนาดใหญ่ที่สุ
ดในอาเซียน
และเป็นผู้นำในการขับเคลื่อนทั้
งภูมิภาค
มีอัตราการเติบโตขึ้นอย่างต่
อเนื่อง
โดยโตขึ้น
6.5 เปอร์เซ็นต์
มีมูลค่ารวม
150,000 ล้
านบาทในปี
2558 ในขณะที่อุ
ตสาหกรรมแฟชั่นของประเทศไทยสร้
างมูลค่าถึง
18,000 ล้านบาทในปี
2559 และมีแนวโน้มที่จะเติ
บโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง
อย่างไรก็ตามทั้งอุ
ตสาหกรรมความงามและแฟชั่นต่างมี
การปรับเปลี่ยนตามกระแสโลก
โดยอินเทอร์เน็ตและข้อมู
ลบนโลกไซเบอร์เป็นปัจจัยหลักที่
กระทบกับทั้งสองอุตสาหกรรม
อาทิ
ปรากฏการณ์วล็อกเกอร์
(Vlogger) รีวิวหรือสอนแต่งหน้า
ที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อการเลื
อกซื้อเครื่องสำอาง
หรือแม้แต่แฟชั่นที่ใช้คำพูดหรื
อแนวคิดของบุคคลที่มีชื่อเสี
ยงในปัจจุบัน
มาเป็นคอนเซ็ปต์ในการออกแบบ
เพื่อสะท้อนถึงตัวตนของแบรนด์
3. สุขภาพและความเป็นอยู่
(Health & Wellbeing) ตลาดสินค้าและธุรกิ
จบริการสุขภาพของประเทศไทยมี
การขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่
อง
สามารถสร้างรายได้ไม่ต่ำกว่า
100,000 ล้านบาท
ประกอบกับความได้เปรี
ยบของประเทศไทยในการเป็นผู้นำด้
านการจัดการบริการสุขภาพระดั
บโลก
ที่มีสถานพยาบาลที่ได้รับรองด้
านคุณภาพและบริ
การโดยมาตรฐานสากลและรางวัลระดั
บโลกถึง
53 แห่ง
เมื่อผนวกกับธุรกิจด้
านสปาและนวดในปี
2558 ที่มีอั
ตราการขยายตัวจนสูงถึง
31,000 ล้
านบาท
และมีความต้องการใช้บริการและซื้
อผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่
อง
โดยอุตสาหกรรมด้านสุ
ขภาพและความเป็นอยู่
จะตอบโจทย์กระแสโลกที่มีผู้คนทุ
กข์ทรมานจากความเครียดและวิตกกั
งวลเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
4. การขนส่งและวิวั
ฒนาการของเทคโนโลยีท่องอวกาศ
(Transport & Space) ปี
2559 ที่ผ่านมาถือเป็
นจุดเปลี่ยนด้านเทคโนโลยีที่
กระทบต่อการขนส่งเชิงพาณิชย์
ประกอบกับสถานการณ์การผลิตน้ำมั
นดิบ
ที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการที่
เพิ่มมากขึ้น
ทำให้หลายประเทศให้ความสนใจกั
บรถยนต์พลังงานทางเลือก
หรือรถยนต์พลังงานสะอาด
ซึ่งสำหรับประเทศไทยในครึ่งปี
แรก
2560 มีการส่งออกชิ้นส่
วนยานยนต์กว่า
7,000 ล้
านดอลลาร์สหรัฐ
เติบโตขึ้นจากครึ่งปีแรก
2559 ถึ
ง
12 เปอร์เซ็นต์
อย่างไรก็ตามหน่วยวิจัยอีไอซี
(Economic Intelligence Center) คาดว่าต้องใช้เวลาไม่น้อยกว่า
10 ปีที่รถยนต์ไฟฟ้าจะสามารถเริ่
มทำตลาดในไทย
ซึ่งสิ่งที่ไทยควรทำคือ
การสร้างระบบนิเวศและวางโครงสร้
างพื้นฐานที่เอื้อต่ออุ
ตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้าให้พร้อม
ในขณะเดียวกันต่างประเทศกำลั
งให้ความสนใจกับการขนส่งอวกาศ
และการขนส่งสาธารณะความเร็วสูง
อย่าง
ไฮเปอร์ลูป
5. อุตสาหกรรมค้าปลีก
(Retail) พฤติกรรมและทัศนคติ
ของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปทำให้
ร้านค้าปลีกทั่วโลกปิดตัวลงเป็
นจำนวนมาก
สำหรับอุตสาหกรรมร้านค้าปลี
กในไทยเองก็ต้องปรับตัวครั้
งใหญ่
เมื่อผู้บริโภคหันมาซื้อผ่านอี
คอมเมิร์ซมากขึ้น
จนทำให้มูลค่าการซื้อขายออนไลน์
เติบโตขึ้นมากกว่า
100 เปอร์เซ็
นต์
ในขณะที่ยอดซื้อสินค้าจากร้านค้
าที่มีหน้าร้านเติบโตเพียง
10 เ
ปอรเซ็นต์
ทำให้มูลค่าธุรกิจอีคอมเมิร์
ซในประเทศไทยมีมูลค่าถึงราวๆ
3 ล้านบาท
ฉะนั้นแล้วธุรกิจค้าปลีกต้องเร่
งปรับตัว
อาทิ
เน้นการสร้างประสบการณ์ร่
วมระหว่างลูกค้ากับแบรนด์
หรือแม้แต่การประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีต่างๆ
เข้ามาอำนวยความสะดวกผู้บริ
โภคมากยิ่งขึ้น
6. ท่องเที่ยว
(Travel) อุตสาหกรรมการท่องเที่
ยวในประเทศไทยยังคงสร้างรายได้
เข้าประเทศได้อย่างต่อเนื่อง
โดยในปี
2561 กระทรวงการท่องเที่
ยวและกีฬาแห่งประเทศไทยคาดการณ์
ว่าจะมีรายได้จากอุ
ตสาหกรรมการท่องเที่ยวถึง
3.1 ล้
านล้านบาท
เพิ่มขึ้นจาก
2.7 ล้านล้
านบาทในปี
2560 ที่ผ่านมา
พร้อมคาดการณ์ว่าอุ
ตสาหกรรมการท่องเที่ยวจะครองสั
ดส่วนจีดีพีไทยถึง
14.3 เปอร์
เซ็นต์ในอีก
10 ปีข้างหน้า
อย่างไรก็ตามกระแสที่
มาแรงในวงการการท่องเที่ยวคือ
การท่องเที่ยวแบบสั่งตัด
(Tailor-made Travel) ที่ผู้ประกอบการในอุ
ตสาหกรรมต้องให้ความสนใจ
และพร้อมให้บริการเพื่อตอบโจทย์
ความต้องการเฉพาะกลุ่มของนักท่
องเที่ยวให้ได้มากที่สุด
7. สถาปัตยกรรมและการตกแต่ง
(Architecture & Decoration) กระแสโลกทางด้านอุ
ตสาหกรรมสถาปัตยกรรมและการตกแต่
งที่กำลังได้รับความสนใจ
คือ
เมืองสีเขียว
(Green Urban) เพื่อการเป็นเมืองแห่
งอนาคตและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้
อม
สร้างคุณค่าในระยะยาวที่ยั่งยืน
และอีกหนึ่งกระแสสำคัญคือ
การออกแบบแบบมัลติฟังก์ชั่น
(Multifunction) เพื่อรองรับการใช้งานอย่
างหลากหลายรูปแบบ
และตอบโจทย์ผู้ใช้ในทุกเพศ
ทุกวัย
ทุกเชื้อชาติ
วัฒนธรรม
8. สื่อและความบันเทิง
(Media & Entertainment) ในยุคของโซเชี
ยลมีเดียปัจจุบัน
อุตสาหกรรมสื่อและความบันเทิงมี
การเปลี่ยนแปลงอย่างตลอดเวลา
โดยในปี
2560 มีผู้ใช้งานเฟซบุ๊
กถึง
76 เปอร์เซ็นต์ของผู้ใช้สื่
อทั้งหมด
รองลงมาคือ
อินสตาแกรม
51 เปอร์เซ็นต์
และทวิตเตอร์
42 เปอร์เซ็นต์
โดยผู้บริโภคให้ความสนใจกับไลฟ์
ทีวีและเสพข้อมูลบนหน้าจอมากขึ้
นจนทำให้บทบาทสื่อและการโฆษณาที่
เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเปลี่
ยนแปลงไป
เกิดสื่อรูปแบบใหม่คือโฆษณาที่
ถูกปรับเปลี่ยนกลยุทธ์
ทางการตลาดตามสื่อดิจิทัลที่
ครองโลกแห่งภาพและวิดีโอ
9. อาหาร
(Food) จากเทรนด์ในช่วงหลายปีที่
ผ่านมาเกี่ยวกับการเลื
อกทานอาหารเพื่อสุขภาพ
ที่สร้างมูลค่ากว่า
1 ล้านล้
านเหรียญสหรัฐ
ในปี
2560 จนมาถึงกระแส
ฟาร์มถึงโต๊ะอาหาร
(Farm to Table) อาหารออร์แกนิก
(Organic) และบรรจุภัณฑ์รักษ์
โลก
(Sustainable Packaging) ทำให้ธุรกิจอาหารที่
จะเกิดในปี
2561 ต้องเป็
นอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่
างกายและจิตใจควบคู่กัน
นอกจากนี้กระแสจากโลกโซเชียลมี
เดียในรูปแบบ
ฟู้ดเน็ทเวิร์ค
(Food Network) หรือการแชร์เมนู
และประสบการณ์
ทำอาหารบนโลกออนไลน์
ทำให้ผู้บริโภคหันมาทำอาหารเพื่
อบริโภคเองมากขึ้นอย่างต่อเนื่
อง
ทั้งหมดนี้เป็นส่วนหนึ่
งของหนังสือบทสรุป
“เจาะเทรนด์
โลก
2018 IN/TO the future” (INdividual and TOgether with the New State of Mind) ที่ทางศูนย์สร้างสรรค์
งานออกแบบ
(TCDC) ได้ทำการศึกษาวิจัย
และสรุปเพื่อเผยแพร่ความรู้ที่
เป็นประโยชน์แก่สังคมไทย
เพื่อให้สามารถเข้าใจ
และรู้เท่าทันความต้
องการของตลาดโลก
โดยผู้ที่สนใจสามารถดาวน์
โหลดโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายจาก
www.tcdc.or.th
หรือแอปพลิเคชัน
TCDC Digital Resource บนกูเกิลเพลย์
(Googleplay) และแอปสโตร์
(Appstore) นายกิตติรัตน์
กล่
าวทิ้งท้าย
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) 1160 อาคารไปรษณีย์กลาง ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10501 โทรศัพท์ 02-105-7441