โอกาสของคนตัวเล็ก
ปัญหาที่เจ้าของร้านอาหารส่วนใหญ่จะพบเจออีกข้อคือ การไม่ได้วางระบบการจัดการที่ได้มาตรฐานเพียงพอ ทำให้เกิดช่องโหว่ส่งผลให้เปิดปัญหาการขาดทุนโดยไม่จำเป็น ดังนั้น ทางออกที่สำคัญที่ผู้ประกอบการร้านอาหารอย่างคุณจะต้องทำ คือ การจัดทำ “คู่มือร้านอาหาร” โดยแบ่งควา
อย่างที่รู้ๆ กันดีว่า ในการทำธุรกิจไม่ว่าจะธุรกิจใดก็ตาม คุณไม่สามารถที่จะลุยหรือเริ่มต้นธุรกิจเองได้เพียงคนเดียว จำเป็นที่จะต้องหาคู่ค้าหรือ พันธมิตรทางธุรกิจ เข้ามาช่วยสนับสนุนให้ธุรกิจเดินหน้าต่อไปได้ ดังนั้น การหา “Business Partner” จึงมีความสำคัญ
เมื่อพูดถึง “จีน” ประเทศที่มีตลาดขนาดใหญ่ มีผู้บริโภคจำนวนมหาศาล อีกทั้งยังเป็นฐานการผลิตสินค้าหลากหลายชนิดที่มีต้นทุนต่ำ ทำให้นักธุรกิจไทยจำนวนมากเห็นถึงโอกาสที่จะนำเข้าสินค้าราคาถูกจากจีนและต้องการส่งออกสินค้าไทยไปตีตลาดยังแดนมังกร
ในการที่จะเปลี่ยนกิจการของตัวเองเข้าสู่ระบบแฟรนไชส์นั้น สิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยเสริมให้ธุรกิจประสบความสำเร็จได้นั่นก็คือ การทำ “คู่มือปฏิบัติการ” แล้วคู่มือปฏิบัติการนี้มีความสำคัญอย่างไร และมีขั้นตอนการทำอย่างไร ชี้ช่องรวย มีคำตอบค่ะ
เป็นที่ทราบกันดีว่าใน ตลาดจีน นั้น ยังมีโอกาสที่ SMEs ไทยสามารถนำสินค้าไปเปิดได้ด้วยขนาดของประเทศที่กว้างใหญ่มีหลายเมืองที่กำลังพัฒนาตัวเอง และพร้อมเปิดโอกาสให้ผู้ลงทุนได้เข้าไปทำธุรกิจมากขึ้น
แม้สถานการณ์เศรษฐกิจจากพิษภัยโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อธุรกิจภาคการท่องเที่ยว ซึ่งร้านอาหารเองก็พลอยฟ้าพลอยฝนรับผลกระทบไปด้วย ทางออกที่ดีที่สุดของเจ้าของร้านอาหาร คือ การปรับตัว ไม่ว่าจะเป็นการลดต้นทุน การปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการ บางร้านมีการเพิ่มบริการร
หากพูดถึงการเริ่มต้นทำธุรกิจในจีนนั้น ถือว่าเป็นเรื่องใหญ่สำหรับนักลงทุนหลายคน เพราะมีหลายประเด็นที่ต้องเรียนรู้และทำความเข้าใจก่อนเริ่มลงทุน ไม่ว่าจะเป็น ขอบเขตการทำธุรกิจ หรือกฎหมายธุรกิจเอง เพื่อให้การทำธุรกิจมีความราบรื่น
ในการทำธุรกิจไม่ว่าจะเป็นประเภทไหนก็ตาม เมื่อถึงจุดหนึ่งที่จะต้องต่อยอดเพื่อขยายกิจการ ซึ่งรูปแบบการขยายธุรกิจหรือกิจการก็จะมีหลากหลายต่างกันไป แต่จะมีอยู่ 2 รูปแบบ ที่คนส่วนใหญ่นิยมกันมากนั่นก็คือ การขยายในรูปแบบ Franchise และ Chain store ซึ่งคุณรู้หรือไ
ตามที่ สำนักงานอาหารและยาของไต้หวัน (Taiwan Food and Drug Administration) ออกประกาศผลการตรวจสอบสินค้านำเข้าจากต่างประเทศ พบว่ามีสินค้า 14 รายการที่ไม่ผ่านมาตรฐานด้านความปลอดภัยของไต้หวัน
หลายคนที่มีแนวคิดอยากจะเป็นเจ้าของกิจการหรือทำธุรกิจ แต่ยังไม่กล้าตัดสินใจ เพราะกลัวความล้มเหลว ยิ่งในภาวะวิกฤตเศรษฐกิจเยี่ยงนี้ ยิ่งทำให้หนักใจ และไม่กล้าที่ออกไปพิสูจน์ตัวเอง ทำให้คุณขาดโอกาสในหลายๆ อย่าง